หลักสูตรคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี
1.1 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรปรับปรุง 2559)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
Bachelor of Science in Technical Education Program in Civil Engineering
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)
Bachelor of Science in Technical Education (Civil Engineering)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.บ.(วิศวกรรมโยธา)
B.S. Tech. Ed. (Civil Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 174 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 36 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 132 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ครูช่างอุตสาหกรรมด้านช่างก่อสร้าง
- 2. ครูฝึกและวิทยากรฝึกอบรมในสถานประกอบการ
- 3. ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง
- ผู้ประเมินราคางานก่อสร้าง
1.2 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
Bachelor of Science in Technical Education Program in Electrical Engineering
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า)
Bachelor of Science in Technical Education (Electrical Engineering)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
B.S. Tech. Ed. (Electrical Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 170 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 131 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- 1. ครู-อาจารย์สอนทางด้านไฟฟ้ากำลัง
- 2. ผู้ควบคุมดูแลการติดตั้งและการบำรุงรักษาทางด้านไฟฟ้ากำลัง
- 3. นักอุตสาหกรรมด้านระบบไฟฟ้าในโรงงาน
- นักอุตสาหกรรมด้านไฟฟ้ากำลังในสถานประกอบการ
1.3 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
Bachelor of Science in Technical Education Program in Mechanical Engineering
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล)
Bachelor of Science in Technical Education (Mechanical Engineering)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.บ.(วิศวกรรมเครื่องกล)
B.S. Tech. Ed. (Mechanical Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 169 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 36 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 127 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
8.1 ครูช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ และเครื่องกล ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
8.2 ครูฝึกและวิทยากรฝึกอบรมในสถานประกอบการ
8.3 อาชีพเกี่ยวกับงานบริการเทคนิคยานยนต์
1.4 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
Bachelor of Science in Technical Education Program in Industrial Engineering
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ)
Bachelor of Science in Technical Education (Industrial Engineering)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.บ.(วิศวกรรมอุตสาหการ)
B.S. Tech. Ed. (Industrial Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 171 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 36 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 129 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- 1. ครูช่างอุตสาหการ สาขาช่างกลโรงงาน สาขาช่างเชื่อมและโลหะ สาขาช่างซ่อมบำรุง และสาขาช่างเทคนิคการผลิต ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้งหน่วยงานในภาครัฐ และสถาบันการสอนอาชีวเอกชน
- 2. ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งหน่วยงานในภาครัฐ และหน่วยงานเอกชน
- 3. นักอุตสาหกรรมการผลิต
- 4. ครูฝึก/วิทยากรฝึกอบรมในสถานประกอบการ
- ผู้จัดการ/บริหารงานอุตสาหกรรมการผลิต
1.5 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
Bachelor of Science in Technical Education Program in Electronics and Telecommunication Engineering
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม)
Bachelor of Science in Technical Education (Electronics and Telecommunication Engineering)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม)
B.S. Tech. Ed. (Electronics and Telecommunication Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 173 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 36 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 131 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ครูผู้สอนช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ และหรือสาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้งหน่วยงานในภาครัฐ และหน่วยงานเอกชน
- ครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐานทั้งหน่วยงานในภาครัฐ และหน่วยงานเอกชน
- นักอุตสาหกรรมด้านอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
1.6 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Bachelor of Science in Technical Education Program in Computer Engineering
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
Bachelor of Science in Technical Education (Computer Engineering)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
B.S. Tech. Ed. (Computer Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 169 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 130 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- 1. ครูผู้สอนทางด้านคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
- 2. วิทยากร ผู้ฝึกอบรมทางด้านคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษาและสถานประกอบการ
- 3. นักออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนทางด้านคอมพิวเตอร์
- นักพัฒนาโปรแกรม
1.7 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (หลักสูตรปรับปรุง 2560)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์
Bachelor of Engineering Program in Mechatronics Engineering
ชื่อปริญญา
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์)
Bachelor of Engineering (Mechatronics Engineering)
อักษรย่อปริญญา
วศ.บ. (วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์)
B.Eng. (Mechatronics Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 143 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 107 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- 1. วิศวกรควบคุมออกแบบและบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
- 2. วิศวกรระบบในโรงงานอุตสาหกรรม
- 3. วิศวกรฝ่ายซ่อมบำรุงระบบอัตโนมัติ
- วิศวกรออกแบบหรือบริหารควบคุมการใช้งานเครื่องจักร
1.8 หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต (ต่อเนื่อง) (หลักสูตรใหม่ 2559)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต
Bachelor of Industrial Technology Program in Production Technology (Continuing Program)
ชื่อปริญญา
อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการผลิต)
Bachelor of Industrial Technology (Production Technology)
อักษรย่อปริญญา
อส.บ.(เทคโนโลยีการผลิต)
- Ind. Tech. (Production Technology)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 80 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 56 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
อาชีพ นักเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม ปฏิบัติงานภาครัฐและเอกชน
1.9 หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (ต่อเนื่อง) (หลักสูตรใหม่ 2561)
ชื่อหลักสูตร
อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
Bachelor of Industrial Technology Program in Smart Electronics (Continuing Program)
ชื่อปริญญา
อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ)
Bachelor of Industrial Technology (Smart Electronics)
อักษรย่อปริญญา
อส.บ. (อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ)
B.Ind.Tech. (Smart Electronics)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 79 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 15 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 58 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักเทคโนโลยีประจำโรงงาน ด้านการควบคุมโรงงาน industry 4.0
- ประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
- ผู้ช่วยนักวิจัยอุตสาหกรรมด้านอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
- รับราชการ
1.10 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
Bachelor of Education Program in Technology Digital for Education
ชื่อปริญญา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา)
Bachelor of Education (Technology Digital for Education)
อักษรย่อปริญญา
ศษ.บ. (เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา)
B.Ed. (Technology Digital for Education)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 139 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 103 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยี)
- นักวิชาการคอมพิวเตอร์
- นักวิเคราะห์ และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
- ผู้ดูแล และบริหารฐานข้อมูล
- นักออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก/พัฒนาแอพพลิเคชันเพื่อการศึกษา
1.11 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
Bachelor of Education Program in Educational Technology and Communications
ชื่อปริญญา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)
Bachelor of Education (Educational Technology and Communications)
อักษรย่อปริญญา
ศษ.บ. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)
B.Ed. (Educational Technology and Communications)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 137 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 101 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ (องค์กรวิชาชีพครู)
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ครู, อาจารย์
- นักเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
- นักวิชาการศึกษา
- นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
- นักออกแบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์
- นักออกแบบสื่อกราฟิกดิจิทัล
1.12 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2561)
ชื่อหลักสูตร
ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา
Bachelor of Education Program in Educational Information Technology
ชื่อปริญญา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา)
Bachelor of Education (Educational Information Technology)
อักษรย่อปริญญา
ศษ.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา)
B.Ed. (Educational Information Technology)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 133 หน่วยกิต
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเฉพาะ 97 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
– หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักพัฒนาบุคลากรในภาครัฐและเอกชน
- นักพัฒนาระบบดิจิทัล
- นักพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ดิจิทัล
- อาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา
- หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู (หลักสูตรปรับปรุง 2562)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
Graduate Diploma in Teaching Profession
ชื่อปริญญา
ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
Graduate Diploma in Teaching Profession
อักษรย่อปริญญา
ป.บัณฑิตวิชาชีพครู
Grad. Dip. in Teaching Profession
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 35 หน่วยกิต
- หมวดวิชาบังคับ 35 หน่วยกิต
1) วิชาบังคับ 29 หน่วยกิต
2) วิชาปฏิบัติการสอน 6 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู จัดการศึกษาในระบบทวิภาค และเป็นไปตาม ประกาศของคุรุสภา ทั้งนี้จะใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 3 ปีการศึกษา
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ครูผู้สอนในสถานศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอาชีวศึกษา
ระดับปริญญาโท
2.2 หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2559)
ชื่อหลักสูตร
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
Master of Education Program in Educational Technology and Communications
ชื่อปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)
Master of Education (Educational Technology and Communications)
อักษรย่อปริญญา
ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)
M.Ed. (Educational Technology and Communications)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 42 หน่วยกิต
หมวดวิชา |
แผน ก | |||
แบบ ก 1 | แบบ ก 2 | แผน ข | ||
1. หมวดวิชาพื้นฐานทางการศึกษา | – | 9 | 9 | |
2. หมวดวิชาเฉพาะ | – | 21 | 27 | |
2.1 วิชาบังคับ | – | 15 | 15 | |
2.2 วิชาเลือก | – | 6 | 12 | |
3. วิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ | 42 | 12 | 6 | |
รวมทั้งสิ้น | 42 | 42 | 42 | |
– หลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ปี
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- อาจารย์ นักวิชาการศึกษา นักเทคโนโลยีการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโสตทัศนศึกษา ศูนย์การเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภาครัฐและเอกชน
- ผู้บริหาร และนักวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
- นักฝึกอบรม / สัมมนา ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- ผู้ประกอบการและที่ปรึกษาเกี่ยวกับสถาบัน บริษัทด้านส่งเสริมการเรียนรู้ สื่อการศึกษา สื่อมวลชน และเทคโนโลยีสารสนเทศ
- อาชีพอิสระ เช่น นักผลิตสื่อการศึกษา นักจัดรายการ ผู้กำกับรายการทางวิทยุ โทรทัศน์และภาพยนตร์ทางการศึกษา ออกแบบเว็บไซต์ งานโฆษณาประเภทต่าง ๆ
2.3 หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2559)
ชื่อหลักสูตร
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
Master of Education Program in Educational Administration
ชื่อปริญญา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)
Master of Education (Educational Administration)
อักษรย่อปริญญา
ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา)
M.Ed. (Educational Administration)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 42 หน่วยกิต
- หมวดวิชาบังคับ 24 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือก 6หน่วยกิต
- วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 2
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษาของหน่วยงานภาครัฐ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน
- นักวิชาการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาด้านการศึกษาในหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน
- 3. อาจารย์ในสถาบันการศึกษาต่างๆ
- ประกอบอาชีพอิสระทางด้านการให้คำปรึกษาด้านการบริหารการศึกษา
2.4 หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน (หลักสูตรปรับปรุง 2560)
ชื่อหลักสูตร
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน
Master of Education Program in Curriculum Development and Instructional Innovation
ชื่อปริญญา
ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน)
Master of Education (Curriculum Development and Instructional Innovation)
อักษรย่อปริญญา
ศษ.ม. (การพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน)
M.Ed. (Curriculum Development and Instructional Innovation)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
หมวดวิชา |
แผน ก | |
แบบ ก 1 | แบบ ก 2 | |
1. หมวดวิชาบังคับร่วม | – | 6 |
2. หมวดวิชาเฉพาะสาขา | – | 18 |
2.1 วิชาบังคับ | – | 12 |
2.2 วิชาเลือก | – | 6 |
3. วิทยานิพนธ์ | 36 | 12 |
รวมทั้งสิ้น | 36 | 36 |
– หลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ปี
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา ครูในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอาชีวศึกษา
- นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรและการสอนของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
- ผู้บริหารสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอาชีวศึกษา
- นักวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน
- นักฝึกอบรม/สัมมนา
2.5 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรใหม่ 2561)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ)
Master of Engineering Program in Mechatronics Engineering (International Program)
ชื่อปริญญา
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์)
Master of Engineering (Mechatronics Engineering)
อักษรย่อปริญญา
วศ.ม. (วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์)
M.Eng. (Mechatronics Engineering)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 39 หน่วยกิต
- หมวดวิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
- วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ปี แผน ก แบบ ก 2
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภาครัฐและเอกชน
- นักวิชาการและอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- วิศวกรผู้ดูแลระบบการผลิตอัตโนมัติและระบบการผลิตสมัยใหม่
- ประกอบอาชีพอิสระ
ระดับปริญญาเอก
2.6 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2561)
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวศึกษา
Doctor of Science in Technical Education Program in Vocational Education
ชื่อปริญญา
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต (อาชีวศึกษา)
Doctor of Science in Technical Education (Vocational Education)
อักษรย่อปริญญา
ค.อ.ด. (อาชีวศึกษา)
D.Tech.Ed. (Vocational Education)
– จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
- หมวดวิชาบังคับ 9 หน่วยกิต
- หมวดวิชาเลือก 3 หน่วยกิต
- ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต
– หลักสูตรระดับปริญญาเอก หลักสูตร 3 ปี
– อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- อาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนทางด้านอาชีวศึกษา
- ผู้บริหารสถานศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา สถาบันอาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐ และเอกชน
- วิทยากรหน่วยงานฝึกอบรมในสถานประกอบการ
- นักวิชาการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญ ในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน
- นักวิจัย ทั้งในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน